ภาษาไทย ม.ต้น รวมทุกบท

รหัสคอร์ส: TON94399_1
อ.สุรเชษฐ์ พิชิตพงศ์เผ่า (พี่ยู)
ดูประวัติผู้สอน

รายละเอียด

ภาษาไทย ม.ต้น รวมทุกบท (TON94399_1)

ละเอียด เข้มข้น ครอบคลุม “เก่งภาษาไทยได้จริงแบบไม่ได้คิดไปเอง”

  • แนวข้อสอบคัดสรรหลากหลายสนาม & ข้อสอบเก็ง 400 ข้อ
  • Harmonic Memo สรุปจำเป็นทำนอง สนุกท่องเป็นจังหวะ จำได้ง่าย จำได้ไว ใช้ได้จริง
  • สำหรับเพิ่มเกรดและเป็นพื้นฐานสู่คอร์สติวเข้ม & ตะลุยโจทย์เพื่อสอบแข่งขันหรือคัดเลือกเรียนต่อ ม.4 ได้อย่างมั่นใจ
  • พิเศษ รับอายุคอร์สเรียน 3 ปี

 

สรุปเนื้อหาเข้มข้น 23 บท ครอบคลุมตามหลักสูตร

  1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร
  2. เสียงและอักษรแทนเสียงในภาษาไทย
  3. พยางค์และโครงสร้างพยางค์
  4. ชนิดและหน้าที่ของคำ
  5. คำและความหมาย
  6. คำพ้อง
  7. คำไทยแท้
  8. คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
  9. การสร้างคำ
  10. ถ้อยคำสำนวน
  11. ประโยค
  12. ระดับภาษา
  13. ราชาศัพท์
  14. ฉันทลักษณ์คำประพันธ์
  15. ความงามทางภาษาในงานประพันธ์
  16. อารมณ์ ข้อคิด และวัฒนธรรมในงานประพันธ์
  17. การเขียนสะกดคำ
  18. การเขียนคำขวัญ คติพจน์ และคำคม
  19. โวหารการเขียน
  20. การเขียนเรียงความ
  21. การย่อความ
  22. การอ่านออกเสียงคำ
  23. การอ่านพิจารณาข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น

 

เก็งโจทย์ดี ไม่มีพลาด

  • พี่ยูสกัดเนื้อหาแต่ละบทอย่างกระชับด้วยตารางสรุปเนื้อหาแบบเข้าใจง่าย & ทบทวนด้วยตัวเองได้อย่างเป็นระบบ
  • สอบสนามไหนก็ไม่มีพลาด ด้วยสไตล์การสอนนแบบปล่อยหมัดตรง อธิบายละเอียดทุกอณู

 

พิเศษ! เมื่อสมัครคอร์สภาษาไทย ม.ต้น รวมทุกบท รับฟรี Set แผ่นพับมหัศจรรย์ (มูลค่า 500 บาท)

(1) “ผิดบ่อยอย่าปล่อยผ่าน” (สกัด 200 คำ จากหลายสนามสอบ)

(2) “อ่านผิดให้อ่านใหม่” (คัดสรร 100 คำ ที่มีผลต่อการทำข้อสอบโครงสร้างพยางค์)

(3) “สำนวนไทยและไวพจน์”  (รวมสำนวนไวพจน์ 20 หมวด และคำไวพจน์ 20 กลุ่ม)

เรียนภาษาไทยแบบใหม่ แบบสับ แบบละเอียด แบบมีความสุขและเก่งได้แบบไม่ได้คิดไปเอง

สารบัญเนื้อหา

บทที่ ๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร

  • ความหมายของ "ภาษา"

  • ภาษาในการสื่อสาร

  • ประเภทของ "ภาษา"

  • พลังภาษา

  • การเปลี่ยนแปลงของภาษา

บทที่ ๒ เสียงและอักษรแทนเสียงในภาษาไทย

  • เสียงและอักษรแทนเสียงพยัญชนะ

  • เสียงและอักษรแทนเสียงสระ

  • เสียงและอักษรเสียงวรรณยุกต์

บทที่ ๓ พยางค์และโครงสร้างพยางค์

  • ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ "พยางค์"

  • หลักการวิเคราะห์โครงสร้างพยางค์โดยทั่วไป

  • พยางค์หนักและพยางค์เบา

  • พยางค์คำเป็นและพยางค์คำตาย

บทที่ ๔ ชนิดและหน้าที่ของคำ

  • คำ ๗ ชนิด ตามแนวคิดหลักภาษาไทย "แนวเดิม"

  • คำ ๑๒ ชนิด ตามแนวคิดใน "บรรทัดฐานภาษาไทย"

บทที่ ๕ คำและความหมาย

  • ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ "คำ"

  • คำกับความหมายแบบต่าง ๆ

  • ข้อควรคคำนึงในการเลือกใช้คำ

บทที่ ๖ คำพ้อง

  • ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ "คำพ้อง"

  • คำพ้องประเภทต่าง ๆ

บทที่ ๗ คำไทยแท้

  • ส่วนมากเป็นคำโดด / มีพยางค์เดียวเป็นส่วนใหญ่

  • ส่วนใหญ่สะกดตรงตามมาตรา

  • ไม่ใช้ ร หัน (รร)

  • ไม่ใช้ ฤ ฤๅ

  • ไม่ใช้ทัณฑฆาตกำกับบนพยัญชนะ (ตัวการันต์)

  • คำที่ใช้ไม้ม้วน ๒๐ คำ

  • ไม่นิยมใช้พยัญชนะบางตัวที่มักปรากฎในคำยืม

บทที่ ๘ คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

  • คำยืมภาษาบาลี

  • คำยืมภาษาสันสกฤต

  • คำยืมภาษาเขมร

  • คำยืมภาษาอังกฤษ

  • คำยืมภาษาอื่น ๆ ในภาษาไทย

บทที่ ๙ การสร้างคำ

  • คำซ้ำ

  • คำซ้อน

  • คำประสม

  • คำสมาส

บทที่ ๑๐ ถ้อยคำสำนวน

  • ความหมายของสำนวน

  • ลักษณะของถ้อยคำสำนวนในภาษาไทย

  • ที่มาของสำนวนไทย

  • การจัดกลุ่มความหมายของสำนวน

  • การเข้าใจและเลือกใช้สำนวนให้ถูกต้อง

บทที่ ๑๑ ประโยค

  • โครงสร้างพื้นฐานของประโยคที่สมบูรณ์ในภาษาไทย

  • การจำแนกชนิดของประโยคตามเกณฑ์ "โครงสร้าง"

  • การจำแนกชนิดของประโยคตามเกณฑ์ "คำที่ขึ้นต้นประโยคนั้นว่าทำหน้าที่ใด"

  • การจำแนกชนิดของประโยคตามเกณฑ์ "เจตนาของผู้ส่งสาร"

บทที่ ๑๒ ระดับภาษา

  • การจำแนกภาษาออกเป็นระดับต่าง ๆ

  • ลักษณะถ้อยคำภาษาที่ควรสังเกตในระดับภาษาที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน

  • ลักษณะสถานการณ์หรือบริบทการเลือกใช้กาษาระดับต่าง ๆ

  • ข้อควรคำนึงถึงการใช้กาษาระดับต่าง ๆ

บทที่ ๑๓ ราชาศัพท์

  • ความหมายและขอบเขตของราชาศัพท์

  • พระปรมาภิไธยและพระนามที่ควรทราบ

  • ข้อตกลงเบื้องต้นสำหรับการอ้างถึงพระบรมวงศ์และพระอนุวงศ์แต่ละพระองค์ในบทนี้

  • การทำให้เป็น "คำนามราชาศัพท์"

  • ข้อสังเกตเกี่ยวกับหน่วยคำเติมหน้าและหน่วยคำเติมหลังในคำนามราชาศัพท์

  • การทำให้เป็น "คำกริยาราชาศัพท์"

  • ตัวอย่างคำกริยาราชาศัพท์ที่พบบ่อยและมักใช้สับสน

  • การใช้คำราชาศัพท์สำหรับ "สมเด็จพระสังฆราช"

  • คำสรรพนาม คำขึ้นต้น คำลงท้าย ในการกราบบังคมทูล / กราบทูล

บทที่ ๑๔ ฉันทลักษณ์คำประพันธ์

  • ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ "สัมผัส" แบบต่างๆ

  • ฉันทลักษณ์คำประพันธ์ประเภท "กลอน"

  • ฉันทลักษณ์ตำประพันธ์ประเภท "กาพย์"

  • ฉันทลักษณ์คำประพันธ์ประเภท "โคลง"

  • สรุปภาพรวมคำประพันธ์ที่มักออกสอบ

บทที่ ๑๕ ความงามทางภาษาในงานประพันธ์

  • กลวิธีทางภาษา

  • ภาพพจน์

  • จินตภาพ

  • กวีโหาร / รสแห่งกาพย์กลอน / สีลาการประพันธ์ / รสวรรณคดีไทย

บทที่ ๑๖ อารมณ์ ข้อคิด และวัฒนธรรมในงานประพันธ์

  • อารมณ์ในงานประพันธ์

  • ข้อคิด

  • วัฒนธรรม

บทที่ ๑๗ การเขียนสะกดคำ

  • ลักษณะการสะกดคำผิด

  • สาเหตุหลักที่ทำให้สะกดคำผิด

บทที่ ๑๘ การเขียนคำขวัญ คติพจน์ และคำคม

  • คำขวัญ

  • คติพจน์และคำคม

บทที่ ๑๙ โวหารการเขียน

  • บรรยายโวหาร (โวหารบรรยาย)

  • พรรณนาโวหาร (โวหารพรรณนา)

  • อธิบายโวหาร (โวหารอธิบาย)

บทที่ ๒๐ การเขียนเรียงความ

  • คำนำ

  • เนื้อเรื่อง

  • สรุป

บทที่ ๒๑ การย่อความ

  • ความหมายและหลักการสำคัญของการย่อความ

  • ขนาดและประเภทของเรื่องที่จะย่อกับขนาดของการย่อความ

  • ชนิดของการย่อความ

  • การใช้ภาษาในการย่อความ

  • รูปแบบเฉพาะของการย่อความ

บทที่ ๒๒ การอ่านออกเสียงคำ

  • การอ่านออกเสียงคำที่มีพยัญชนะหรือเครื่องหมายที่ไม่อ่านออกเสียง

  • การอ่านออกเสียงคำที่มี รร (ร หัน)

  • การอ่านออกเสียงคำที่มีตัว ฤ

  • การอ่านออกเสียงคำที่ใช้ตัว ท เป็นพยัญชนะต้น

  • การอ่านออกเสียงคำที่ใช้ตัว ทร เป็นพยัญชนะตัน

บทที่ ๒๓ การอ่านพิจารณาข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น

  • ข้อเท็จจริง

  • ข้อคิดเห็น

Review

น้องโชกุน

ชัยภูมิภักดีชุมพล

GPA 4.00
ที่1 ระดับชั้น

มีเทคนิคท่องจำ ทำให้จำได้ระยะยาว

น้องพาหุง

ชลกันยานุกูล

GPA 4.00
ที่1 ระดับชั้น

ชอบ harmonic memo ของพี่ยูมาก ๆ ค่ะ เอาไปใช้เวลาสอบได้ด้วย

ผู้สอน

อ.สุรเชษฐ์ พิชิตพงศ์เผ่า (พี่ยู)
ดูประวัติผู้สอน

ภาษาไทย ม.ต้น รวมทุกบท

รหัสคอร์ส: TON94399_1

ภาษาไทย ม.ต้น รวมทุกบท

icon3
ชั่วโมงเรียน
72:00 ชั่วโมง
icon2
อายุคอร์สเรียน
36 เดือน
icon1
ชั่วโมงที่เรียนได้
86:30 ชั่วโมง
icon1
ระบบการเรียน
คอร์สออนไลน์
Top
ทดลองเรียนทดลองเรียนโปรโมชันโปรโมชันรับคำแนะนำรับคำแนะนำ