ความงามทางภาษาในงานประพันธ์ (TON94P11)
เจาะลึกเนื้อหาทุกกลวิธีการประพันธ์ (วรรณศิลป์) / จุดมุ่งหมายของกวีในการนำเสนอสาร / ภาพพจน์ที่มักปรากฏในวรรณคดี / กวีโวหาร (รสวรรณคดีไทย) ที่ต้องเจอในข้อสอบ ทั้ง “O-NET” / “กลางภาค + ปลายภาค” แทรกข้อสังเกตด้วย “พินิจปรีชา” อย่างลุ่มลึก เสริมด้วยแบบฝึกหัด “ทักษวัฒนา” พร้อมแนวข้อสอบที่ท้าทาย “วิทยาประยุกต์”
บทนี้สัมพันธ์กับการเรียนวรรณคดีทุกเรื่อง ทุกระดับชั้น ทุกเทอม เป็นคอร์สพื้นฐานสำหรับปรับความรู้ให้แน่นและแม่น CONCEPT ก่อนลงคอร์สสรุปเนื้อหาหรือคอร์สตะลุยโจทย์เพื่อสอบ TCAS
สุดคุ้ม!! สุดยอดตำราเรียน
น้อง ๆ จะได้รับหนังสือ 1 เล่ม ทรงพลังที่มีเนื้อหาสุดเข้มข้น เจาะลึกครอบคลุมทุกมิติ อัดแน่นด้วยแบบฝึกหัดและแนวข้อสอบ หลากหลาย จุใจ ช่วยให้น้อง ๆ เพิ่มเกรดและพิชิตข้อสอบได้แน่นอน
พิเศษสุด วิเคราะห์เนื้อหาตรงจุดด้วย “ตารางเก็งประเด็นเนื้อหาที่เคยปรากฏในสนามสอบต่าง ๆ” เพื่อให้น้อง ๆ มั่นใจ ทุกประเด็นที่เคยเป็นข้อสอบ
ตรงกับเนื้อหาในแบบเรียนกระทรวงฯ |
เรียนไปสำหรับเพิ่มเกรด / ทำคะแนนในสนามสอบต่าง ๆ |
ควรมีพื้นฐานความรู้เรื่องใด
มาก่อนจะดีมาก |
||||
ม.4 |
ม.5 | ม.6 | กลางภาค / ปลายภาค | O – NET |
วิชาสามัญ |
|
✅ | ✅ | ✅ | ⭐ | ⭐ | – |
– ฉันทลักษณ์ของร้อยกรองไทย – เสียงและอักษรแทนเสียงในภาษาไทย – คำ ความหมาย ชนิดและหน้าที่ ของคำ |
เรื่องที่จะเจอในบทเรียน
๑) กลวิธีการประพันธ์
๑.๑) การสรรคำ
๑.๒) การซ้ำคำ
๑.๓) การเล่นคำ
๑.๔) การเล่นเสียง
๑.๔.๑) การเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะ
๑.๔.๒) การเล่นเสียงสัมผัสสระ
๑.๔.๓) การเล่นเสียงวรรณยุกต์
๑.๕) การใช้คำอัพภาส
๒) จุดมุ่งหมายของกวีในการนำเสนอสาร
๒.๑) แสดงจินตภาพ
๒.๑.๑) จินตภาพทางภาพ
๒.๑.๒) จินตภาพทางเสียง
๒.๑.๓) จินตภาพทางกลิ่น
๒.๑.๔) จินตภาพทางรสชาติ
๒.๑.๕) จินตภาพทางการสัมผัส
๒.๒) แสดงอารมณ์
๒.๓) แสดงความคิด
๓) ภาพพจน์ที่มักปรากฏในวรรณคดี
๓.๑) อุปมา
๓.๒) อุปลักษณ์
๓.๓) บุคคลวัต หรือบุคคลสมมุติ
๓.๔) การใช้คำถามเชิงวาทศิลป์
๓.๕) อติพจน์
๓.๖) สัทพจน์
๔) กวีโวหาร
๔.๑) เสาวรจนี
๔.๒) นารีปราโมทย์
๔.๓) พิโรธวาทัง
๔.๔) สัลลาปังคพิสัย