ภาษาแสดงความคิด (TON94P25)
เจาะลึกเนื้อหา
ภาษากับการแสดงเหตุผล / ภาษากับการแสดงทรรศนะ / ภาษากับการโน้มน้าวใจ / ภาษากับการโต้แย้ง ที่ต้องเจอในข้อสอบ ทั้ง “วิชาสามัญ” / “O-NET” / “กลางภาค + ปลายภาค” แทรกข้อสังเกตด้วย “พินิจปรีชา” อย่างลุ่มลึก เสริมด้วยแบบฝึกหัด “ทักษวัฒนา” พร้อมทำข้อสอบ “วิทยาประยุกต์” ที่ท้าทาย
เป็นคอร์สพื้นฐาน
สำหรับปรับความรู้ให้แน่นและแม่น CONCEPT ก่อนลงคอร์สสรุปเนื้อหาหรือคอร์สตะลุยโจทย์เพื่อสอบ TCAS แก้ไขปัญหารายเรื่องรายบทให้หมดกังวล มั่นใจในทุกสนามสอบ
สุดคุ้ม!! สุดยอดตำราเรียน
น้อง ๆ จะได้รับหนังสือทรงพลัง 1 เล่ม ที่มีเนื้อหาสุดเข้มข้น เจาะลึกครอบคลุมทุกมิติ อัดแน่นด้วยแบบฝึกหัดและแนวข้อสอบที่หลากหลาย จุใจ ช่วยให้น้อง ๆ เพิ่มเกรดและพิชิตข้อสอบ
พิเศษสุด
วิเคราะห์เนื้อหาตรงจุดด้วย ตารางเก็งประเด็นเนื้อหาที่เคยปรากฏในสนามสอบสำคัญต่าง ๆ เพื่อให้น้อง ๆ มั่นใจ ทุกประเด็นที่เคยใช้เป็นข้อสอบ
ตรงกับเนื้อหาใน
แบบเรียนกระทรวงฯ |
เรียนไปสำหรับเพิ่มเกรด /
ทำคะแนนในสนามสอบต่าง ๆ |
ควรมีพื้นฐานความรู้เรื่องใด
มาก่อนจะดีมาก |
||||
ม.4 | ม.5 | ม.6 | กลางภาค / ปลายภาค | O – NET | วิชาสามัญ | |
– | ✅ | ✅ | ⭐ | ⭐ | ⭐ | – คำ ความหมาย ชนิดและหน้าที่ ของคำ |
หัวข้อในบทเรียน
๑) ภาษากับการแสดงเหตุผล
๑.๑) ลักษณะภาษาที่แสดงเหตุผล
๑.๑.๑) ใช้คำเชื่อม
๑.๑.๒) ไม่ใช้คำเชื่อม
๑.๒) โครงสร้างการแสดงเหตุผล
๒) ภาษากับการแสดงทรรศนะ
๒.๑) ลักษณะภาษาที่แสดงทรรศนะ
๒.๑.๑) ใช้คำกริยาหลักเพื่อแสดงทรรศนะ
๒.๑.๒) ใช้คำหรือกลุ่มคำแสดงการประเมินค่าหรือให้ระดับคุณภาพได้
๒.๑.๓) ใช้คำแสดงอารมณ์ ความรู้สึก
๒.๑.๔) ใช้คำช่วยหน้ากริยาเพื่อแสดงทรรศนะ
๒.๒) ประเภทของทรรศนะ
๓) ภาษากับการโน้มน้าวใจ
๔) ภาษากับการโต้แย้ง
๔.๑) โครงสร้างของการโต้แย้ง
๔.๒) กระบวนการโต้แย้ง
๔.๒.๑) การตั้งประเด็นในการโต้แย้ง
๔.๒.๒) การนิยามคำหรือกลุ่มคำสำคัญที่อยู่ในประเด็นการโต้แย้ง
๔.๒.๓) การค้นคว้าและเรียบเรียงข้อมูลเพื่อสนับสนุนทรรศนะของตนเอง
๔.๒.๔) การค้นคว้าและเรียบเรียงข้อมูลเพื่อชี้ให้เห็นจุดอ่อนและความผิดพลาดของทรรศนะฝ่ายตรงข้าม
๔.๓) ข้อควรระวังในการโต้แย้ง